ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความอยุติธรรม (justice delayed is justice denied) เฉกเช่นคำขวัญศาลแรงงานที่ว่า "ประหยัด สะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม" ก็ด้วยการตระหนักว่าความยุติธรรมมิใช่เพียงการตัดสินโดยองค์กรตุลาการที่เป็นกลางเท่านั้น หากต้องมิใช่กระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน เพราะคำตัดสินที่มาอย่างเชื่องช้าอาจทำให้ผู้ได้รับความเสียหายไม่สนใจต่อการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทั้งยังทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างคู่ความที่ไม่มีความเท่าเทียมกัน
สาระสำคัญของคำพิพากษา
ข้อเท็จจริง
ข้อเท็จจริงฝั่งจำเลย
ข้อเท็จจริงจากการตรวจสำนวนประชุมปรึกษาจากศาลฎีกาแผนกแรงงาน
โดยสรุป : ท่านสามารถพิจารณาความแตกต่างของสัญญาจ้างแรงงานกับสัญญาจ้างทำของ ได้จากตารางด้านล่างนี้
สัญญาจ้างแรงงาน |
สัญญาจ้างทำของ |
---|---|
จ่ายค่าจ้างตามวันเวลาทำงาน หรือตามระยะเวลาที่ตกลงกัน |
เน้นจ่ายค่าจ้างตามผลสำเร็จของงาน หรือจ่ายตามสัดส่วนของผลสำเร็จตามที่ได้ตกลงกันไว้ล่วงหน้า |
เป็นผู้กำหนดวันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณีวันหยุดพักผ่อนประจำปี |
ผู้ว่าจ้างไม่มีการกำหนดวันหยุดให้ แต่ผู้รับจ้างกำหนดเอง วิธีแก้ไข นำประกาศวันหยุดของผู้ว่าจ้าง มาแก้ไขและเปลี่ยนชื่อบริษัทใหม่ |
เป็นผู้ควบคุมอนุมัติวันลาป่วย / ลากิจ / ลาต่างๆ |
การลาต่างๆขึ้นกับบริษัท ผู้รับจ้างเป็นผู้อนุมัติการลา |
กำหนดการทำงานล่วงเวลา และอนุมัติใบล่วงเวลา |
ผู้รับจ้าง เป็นผู้จัดสรรการทำงานล่วงเวลาเองไม่เกี่ยวกับผู้ว่าจ้าง วิธีแก้ไข การอนุมัติการทำงานล่วงเวลาให้หัวหน้างานของผู้รับจ้างเป็นผู้อนุมัติ |
มีการลงโทษทางวินัย และสั่งให้ปลดหรือเลิกจ้าง |
การลงโทษทางวินัยไม่เกี่ยวกับผู้ว่าจ้าง วิธีแก้ไข หัวหน้างานของผู้รับจ้างเป็นผู้ลงโทษ ในกรณีผู้ว่าจ้าง ไม่ต้องการพนักงานให้ส่งตัวคืน ห้ามเลิกจ้างหรือปลดเอง |
เป็นผู้ควบคุมและบังคับบัญชา |
ผู้รับจ้างเป็นผู้ควบคุมและสั่งการเองทั้งหมด |
กฎระเบียบ / ข้อบังคับ ต้องอยู่ภายใต้ข้อบังคับเกี่ยงกับการทำงานของบริษัทผู้ว่าจ้างกำหนดเท่านั้น |
กฎระเบียบ / ข้อบังคับ ต้องใช้ของผู้รับจ้าง ไม่สามารถไปใช้กับผู้ว่าจ้าง วิธีแก้ไข นำระเบียบ / ข้อบังคับ ของผู้ว่าจ้างมาใส่เพิ่มเติม และให้เพิ่มเป็นระเบียบการทำงานของผู้รับจ้าง |
สวัสดิการให้ใช้ร่วมกันได้ |
ไปใช้สวัสดิการร่วมกันไม่ได้ มิฉะนั้นถือว่าเป็นนายจ้าง วิธีแก้ไข ให้ทำสัญญาแนบท้ายการขอใช้สิทธิด้วย เช่น รถรับส่ง ห้องพยาบาล ห้องอาหาร ห้องน้ำ |
1เลิกจ้างโดยมิได้กระทำความผิดตามมาตรา 119 ของพรบ.คุ้มครองแรงงาน ต้องจ่ายค่าชดเชย ถ้าผู้รับเหมาค่าแรงไม่จ่าย นายจ้างเสมือนเป็นนายจ้างร่วมกัน ต้องจ่ายแทนผู้รับเหมาแรงงาน |
เลิกจ้างเป็นหน้าที่ของบริษัทผู้รับจ้างโดยตรง เพราะไม่สามารถไปเกี่ยวข้องกับผู้ว่าจ้างได้ เพราะผู้ว่าจ้างมิใช่นายจ้างของพนักงานผู้รับจ้าง |
ลูกจ้างต้องเป็นบุคคลธรรมดาเท่านั้น |
ผู้รับจ้าง มีฐานะเป็นนิติบุคคล หรือบุคคลธรรมดาก็ได้ |
นายจ้างมีอำนาจควบคุมบังคับบัญชาลูกจ้าง |
ผู้ว่าจ้างไม่มีอำนาจควบคุมบังคับบัญชาผู้รับจ้าง |
ลูกจ้างได้รับค่าจ้างแม้ยังไม่มีผลสำเร็จของงาน |
ผู้รับจ้างได้สินจ้างเมื่อทำงานจนผลสำเร็จ |
กรณีลูกจ้างละเมิดต่อบุคคลภายนอกจากงานทางการจ้าง นายจ้างต้องรับผิดร่วมกับลูกจ้าง |
กรณีผู้รับจ้างละเมิดต่อบุคคลภายนอก ผู้ว่าจ้างไม่ต้องรับผิด |
นายจ้างเป็นผู้จัดหาเครื่องมือให้แก่ลูกจ้าง |
ผู้รับจ้างเป็นผู้จัดหาเครื่องมือมาเอง |
ค่าจ้างต้องจ่ายเป็น"เงิน"เท่านั้น |
click อ่านได้ที่นี่...
อ่านข่าวแรงงาน CLICK ที่นี่...
อ่านข่าว click ที่นี่...
อ่านข่าวมติชน click ที่นี่...
อ่านรายชื่อได้ที่นี่...
ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร ทนายพรนารายณ์ ทุยยะค่าย 6 มีค. 67 &nb...
CLICK ที่นี่...
ค้นหากดที่นี่...
CLICK ที่นี่...