ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความอยุติธรรม (justice delayed is justice denied) เฉกเช่นคำขวัญศาลแรงงานที่ว่า "ประหยัด สะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม" ก็ด้วยการตระหนักว่าความยุติธรรมมิใช่เพียงการตัดสินโดยองค์กรตุลาการที่เป็นกลางเท่านั้น หากต้องมิใช่กระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน เพราะคำตัดสินที่มาอย่างเชื่องช้าอาจทำให้ผู้ได้รับความเสียหายไม่สนใจต่อการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทั้งยังทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างคู่ความที่ไม่มีความเท่าเทียมกัน

ห่วงผู้สูงวัย-แรงงานข้ามชาติพุ่ง ประกันสังคมโลกตั้งศูนย์ให้คำแนะนำ

เวทีประกันสังคมโลกห่วงผู้สูงอายุเพิ่ม แรงงานข้ามชาติในแต่ละประเทศพุ่ง แนะแต่ละประเทศพัฒนาระบบประกันสังคมรองรับ ขยายความคุ้มครองให้ครอบคลุมทุกคน พร้อมตั้งศูนย์ให้คำแนะนำที่สมาคมประกันสังคมระหว่างประเทศจัดทำคู่มือเผยแพร่

 

นายอารักษ์ พรหมณี รองเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม (สปส.) กระทรวงแรงงาน เปิดเผยหลังเป็นตัวแทน สปส.เข้าร่วมประชุมประกันสังคมระหว่างประเทศครั้งที่ 31 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 10-15 พฤศจิกายน ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ โดยมีผู้แทนกว่า 150 ประเทศเข้าร่วมประชุมกว่า 1,000 คน ที่ประชุมมีข้อสรุปว่า ระบบประกันสังคมของแต่ละประเทศจะต้องปรับตัวเพื่อพร้อมรับมือผลกระทบทาง เศรษฐกิจและการเงินในระยะยาว เนื่องจากช่วง 3 ปีที่ผ่านมาเกิดวิกฤติเศรษฐกิจและการเงินขึ้นในหลายประเทศ และปัจจุบันโครงสร้างประชากรโลกเปลี่ยนแปลงไป มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นแต่เด็กเกิดใหม่ลดลง ทำให้มีแรงงานรุ่นใหม่เข้าสู่ตลาดแรงงานน้อยลง และมีแรงงานข้ามชาติเข้ามาทำงานในประเทศต่างๆ เพิ่มขึ้น เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงาน

 

ทั้งนี้ระบบประกันสังคมจะต้องขยายความคุ้มครองไปสู่ประชาชนทุกคน รวมทั้งแรงงานข้ามชาติได้เข้าสู่ระบบประกันสังคมเพื่อให้มีความมั่นคงในการ ทำงานและดำเนินชีวิต และจะต้องบริหารจัดการระบบประกันสังคมให้มีความเข้มแข็งและผู้ประกันตนได้ รับสิทธิประโยชน์ที่เพียงพอต่อการดำเนินชีวิต เช่น สิทธิประโยชน์เงินบำนาญชราภาพ จึงต้องปรับระบบการบริหารจัดการประกันสังคมให้มีความหลากหลาย โดยให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนเพื่อให้ระบบ ประกันสังคมมีความเข้มแข็งและครอบคลุมสู่ประชาชนทุกกลุ่ม

 

นอกจากนี้ยังให้จัดตั้งศูนย์ให้คำแนะการพัฒนาการบริหารระบบประกันสังคม โดยให้ตั้งอยู่ที่สมาคมประกันสังคมระหว่างประเทศ ซึ่งตั้งอยู่ในองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และจัดทำคู่มือแนะนำเผยแพร่ให้แก่ประเทศต่างๆ ด้วย เช่น การให้คำแนะนำการจัดทำระบบประกันสังคมเพื่อให้ความคุ้มครองแรงงานต่างด้าว ซึ่งจะเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนมกราคม 2557

 

ผลประชุมดังกล่าวสอดรับกับแนวทางการดำเนินการการพัฒนาระบบประกันสังคมของ สปส. ซึ่งเตรียมเสนอให้รัฐบาลและคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติแก้ไขระเบียบ กระทรวงมหาดไทยเพื่อให้ผู้ประกันตนที่ได้รับเงินบำนาญชราภาพ ซึ่งมีอายุ 60 ปี ได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเดือนละ 600 บาท เช่นเดียวกับประชาชนทั่วไป และปรับปรุงสิทธิประโยชน์ของแรงงานข้ามชาติที่ทำงานในไทย โดยถูกต้องตามกฎหมาย เช่น กรณีชราภาพหรือกรณีว่างงานอาจจะจัดเก็บเงินสมทบเช่นเดิมจ่ายเงินก้อนใน ลักษณะเป็นเงินบำเหน็จ และเงินสะสมกรณีว่างงาน คาดว่าปีหน้าจะสรุปเสนอคณะกรรมการประกันสังคม

 

คมชัดลึก ฉบับวันที่ 3 ธ.ค. 2556 (กรอบบ่าย)

เวที ประกันสังคมโลกห่วงผู้สูงอายุเพิ่ม แรงงานข้ามชาติในแต่ละประเทศพุ่ง แนะแต่ละประเทศพัฒนาระบบประกันสังคมรองรับ ขยายความคุ้มครองให้ครอบคลุมทุกคน พร้อมตั้งศูนย์ให้คำแนะนำที่สมาคมประกันสังคมระหว่างประเทศจัดทำคู่มือเผย แพร่

นายอารักษ์ พรหมณี รองเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม (สปส.) กระทรวงแรงงาน เปิดเผยหลังเป็นตัวแทน สปส.เข้าร่วมประชุมประกันสังคมระหว่างประเทศครั้งที่ 31 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 10-15 พฤศจิกายน ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ โดยมีผู้แทนกว่า 150 ประเทศเข้าร่วมประชุมกว่า 1,000 คน ที่ประชุมมีข้อสรุปว่า ระบบประกันสังคมของแต่ละประเทศจะต้องปรับตัวเพื่อพร้อมรับมือผลกระทบทาง เศรษฐกิจและการเงินในระยะยาว เนื่องจากช่วง 3 ปีที่ผ่านมาเกิดวิกฤติเศรษฐกิจและการเงินขึ้นในหลายประเทศ และปัจจุบันโครงสร้างประชากรโลกเปลี่ยนแปลงไป มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นแต่เด็กเกิดใหม่ลดลง ทำให้มีแรงงานรุ่นใหม่เข้าสู่ตลาดแรงงานน้อยลง และมีแรงงานข้ามชาติเข้ามาทำงานในประเทศต่างๆ เพิ่มขึ้น เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงาน

ทั้งนี้ระบบประกันสังคมจะต้องขยายความคุ้มครองไปสู่ประชาชนทุกคน รวมทั้งแรงงานข้ามชาติได้เข้าสู่ระบบประกันสังคมเพื่อให้มีความมั่นคงในการ ทำงานและดำเนินชีวิต และจะต้องบริหารจัดการระบบประกันสังคมให้มีความเข้มแข็งและผู้ประกันตนได้ รับสิทธิประโยชน์ที่เพียงพอต่อการดำเนินชีวิต เช่น สิทธิประโยชน์เงินบำนาญชราภาพ จึงต้องปรับระบบการบริหารจัดการประกันสังคมให้มีความหลากหลาย โดยให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนเพื่อให้ระบบ ประกันสังคมมีความเข้มแข็งและครอบคลุมสู่ประชาชนทุกกลุ่ม

นอกจากนี้ยังให้จัดตั้งศูนย์ให้คำแนะการพัฒนาการบริหารระบบประกันสังคม โดยให้ตั้งอยู่ที่สมาคมประกันสังคมระหว่างประเทศ ซึ่งตั้งอยู่ในองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และจัดทำคู่มือแนะนำเผยแพร่ให้แก่ประเทศต่างๆ ด้วย เช่น การให้คำแนะนำการจัดทำระบบประกันสังคมเพื่อให้ความคุ้มครองแรงงานต่างด้าว ซึ่งจะเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนมกราคม 2557

ผลประชุมดังกล่าวสอดรับกับแนวทางการดำเนินการการพัฒนาระบบประกันสังคมของ สปส. ซึ่งเตรียมเสนอให้รัฐบาลและคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติแก้ไขระเบียบ กระทรวงมหาดไทยเพื่อให้ผู้ประกันตนที่ได้รับเงินบำนาญชราภาพ ซึ่งมีอายุ 60 ปี ได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเดือนละ 600 บาท เช่นเดียวกับประชาชนทั่วไป และปรับปรุงสิทธิประโยชน์ของแรงงานข้ามชาติที่ทำงานในไทย โดยถูกต้องตามกฎหมาย เช่น กรณีชราภาพหรือกรณีว่างงานอาจจะจัดเก็บเงินสมทบเช่นเดิมจ่ายเงินก้อนใน ลักษณะเป็นเงินบำเหน็จ และเงินสะสมกรณีว่างงาน คาดว่าปีหน้าจะสรุปเสนอคณะกรรมการประกันสังคม--จบ--

--คมชัดลึก ฉบับวันที่ 3 ธ.ค. 2556 (กรอบบ่าย)--

- See more at: http://www.hfocus.org/content/2013/12/5665#sthash.C77Qlb3Q.dpuf

เวที ประกันสังคมโลกห่วงผู้สูงอายุเพิ่ม แรงงานข้ามชาติในแต่ละประเทศพุ่ง แนะแต่ละประเทศพัฒนาระบบประกันสังคมรองรับ ขยายความคุ้มครองให้ครอบคลุมทุกคน พร้อมตั้งศูนย์ให้คำแนะนำที่สมาคมประกันสังคมระหว่างประเทศจัดทำคู่มือเผย แพร่

นายอารักษ์ พรหมณี รองเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม (สปส.) กระทรวงแรงงาน เปิดเผยหลังเป็นตัวแทน สปส.เข้าร่วมประชุมประกันสังคมระหว่างประเทศครั้งที่ 31 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 10-15 พฤศจิกายน ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ โดยมีผู้แทนกว่า 150 ประเทศเข้าร่วมประชุมกว่า 1,000 คน ที่ประชุมมีข้อสรุปว่า ระบบประกันสังคมของแต่ละประเทศจะต้องปรับตัวเพื่อพร้อมรับมือผลกระทบทาง เศรษฐกิจและการเงินในระยะยาว เนื่องจากช่วง 3 ปีที่ผ่านมาเกิดวิกฤติเศรษฐกิจและการเงินขึ้นในหลายประเทศ และปัจจุบันโครงสร้างประชากรโลกเปลี่ยนแปลงไป มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นแต่เด็กเกิดใหม่ลดลง ทำให้มีแรงงานรุ่นใหม่เข้าสู่ตลาดแรงงานน้อยลง และมีแรงงานข้ามชาติเข้ามาทำงานในประเทศต่างๆ เพิ่มขึ้น เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงาน

ทั้งนี้ระบบประกันสังคมจะต้องขยายความคุ้มครองไปสู่ประชาชนทุกคน รวมทั้งแรงงานข้ามชาติได้เข้าสู่ระบบประกันสังคมเพื่อให้มีความมั่นคงในการ ทำงานและดำเนินชีวิต และจะต้องบริหารจัดการระบบประกันสังคมให้มีความเข้มแข็งและผู้ประกันตนได้ รับสิทธิประโยชน์ที่เพียงพอต่อการดำเนินชีวิต เช่น สิทธิประโยชน์เงินบำนาญชราภาพ จึงต้องปรับระบบการบริหารจัดการประกันสังคมให้มีความหลากหลาย โดยให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนเพื่อให้ระบบ ประกันสังคมมีความเข้มแข็งและครอบคลุมสู่ประชาชนทุกกลุ่ม

นอกจากนี้ยังให้จัดตั้งศูนย์ให้คำแนะการพัฒนาการบริหารระบบประกันสังคม โดยให้ตั้งอยู่ที่สมาคมประกันสังคมระหว่างประเทศ ซึ่งตั้งอยู่ในองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และจัดทำคู่มือแนะนำเผยแพร่ให้แก่ประเทศต่างๆ ด้วย เช่น การให้คำแนะนำการจัดทำระบบประกันสังคมเพื่อให้ความคุ้มครองแรงงานต่างด้าว ซึ่งจะเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนมกราคม 2557

ผลประชุมดังกล่าวสอดรับกับแนวทางการดำเนินการการพัฒนาระบบประกันสังคมของ สปส. ซึ่งเตรียมเสนอให้รัฐบาลและคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติแก้ไขระเบียบ กระทรวงมหาดไทยเพื่อให้ผู้ประกันตนที่ได้รับเงินบำนาญชราภาพ ซึ่งมีอายุ 60 ปี ได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเดือนละ 600 บาท เช่นเดียวกับประชาชนทั่วไป และปรับปรุงสิทธิประโยชน์ของแรงงานข้ามชาติที่ทำงานในไทย โดยถูกต้องตามกฎหมาย เช่น กรณีชราภาพหรือกรณีว่างงานอาจจะจัดเก็บเงินสมทบเช่นเดิมจ่ายเงินก้อนใน ลักษณะเป็นเงินบำเหน็จ และเงินสะสมกรณีว่างงาน คาดว่าปีหน้าจะสรุปเสนอคณะกรรมการประกันสังคม--จบ--

--คมชัดลึก ฉบับวันที่ 3 ธ.ค. 2556 (กรอบบ่าย)--

- See more at: http://www.hfocus.org/content/2013/12/5665#sthash.C77Qlb3Q.dpuf


05/Dec/2013

เกาะติดข่าวกฎหมาย

>> อ่านต่อ

บทความพิเศษ

 7 มีนาคม 2567 : ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร 7 มีนาคม 2567 : ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร

ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร   ทนายพรนารายณ์ ทุยยะค่าย 6 มีค. 67   &nb...

>> บทความอื่นๆ

กฎหมาย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2550)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.)
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2528
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543
พระราชกำหนด การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กระทรวงแรงงาน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กรมจัดหางาน
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
สำนักงานประกันสังคม
สำนักแรงงานสัมพันธ์
สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว
สำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
ศาลแรงงานกลาง
คณะกรรมาธิการการแรงงาน สภาผู้แทนราษฎร
คณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา