ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความอยุติธรรม (justice delayed is justice denied) เฉกเช่นคำขวัญศาลแรงงานที่ว่า "ประหยัด สะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม" ก็ด้วยการตระหนักว่าความยุติธรรมมิใช่เพียงการตัดสินโดยองค์กรตุลาการที่เป็นกลางเท่านั้น หากต้องมิใช่กระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน เพราะคำตัดสินที่มาอย่างเชื่องช้าอาจทำให้ผู้ได้รับความเสียหายไม่สนใจต่อการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทั้งยังทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างคู่ความที่ไม่มีความเท่าเทียมกัน
นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.) เปิดเผยว่า กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กำหนดให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างมีเวลาพักระหว่างทำงานไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง หลังจากที่ลูกจ้างทำงานมาแล้วไม่เกิน 5 ชั่วโมงติดต่อกัน เพื่อให้ลูกจ้างได้ผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อย ความเครียดจากการทำงาน ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากความเหนื่อยล้าที่ต้องทำงานติดต่อกันนานเกินไป หรือมีเวลาทำกิจธุระส่วนตัว ทั้งนี้นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าแบ่งเวลาพักเป็นช่วงๆ ก็ได้ แต่รวมกันแล้วใน 1 วัน ต้องไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
นายอนันต์ชัย กล่าวเพิ่มเติมว่า กสร.จึงขอให้นายจ้างปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย หากฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท นายจ้าง ลูกจ้างที่มีข้อสงสัยหรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสอบถามได้ที่ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1 ถึง 10 สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดทุกจังหวัด หรือโทรศัพท์สายด่วน 1506 กด 3 |
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เตือนนายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานจัดเวลาพักให้ลูกจ้างไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง ฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท
นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.) เปิดเผยว่า กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กำหนดให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างมีเวลาพักระหว่างทำงานไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง หลังจากที่ลูกจ้างทำงานมาแล้วไม่เกิน 5 ชั่วโมงติดต่อกัน เพื่อให้ลูกจ้างได้ผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อย ความเครียดจากการทำงาน ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากความเหนื่อยล้าที่ต้องทำงานติดต่อกันนานเกินไป หรือมีเวลาทำกิจธุระส่วนตัว ทั้งนี้นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าแบ่งเวลาพักเป็นช่วงๆ ก็ได้ แต่รวมกันแล้วใน 1 วัน ต้องไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
นายอนันต์ชัย กล่าวเพิ่มเติมว่า กสร.จึงขอให้นายจ้างปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย หากฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท นายจ้าง ลูกจ้างที่มีข้อสงสัยหรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสอบถามได้ที่ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1 ถึง 10 สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดทุกจังหวัด หรือโทรศัพท์สายด่วน 1506 กด 3 |
click อ่านได้ที่นี่...
อ่านข่าวแรงงาน CLICK ที่นี่...
อ่านข่าว click ที่นี่...
อ่านข่าวมติชน click ที่นี่...
อ่านรายชื่อได้ที่นี่...
ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร ทนายพรนารายณ์ ทุยยะค่าย 6 มีค. 67 &nb...
CLICK ที่นี่...
ค้นหากดที่นี่...
CLICK ที่นี่...