ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความอยุติธรรม (justice delayed is justice denied) เฉกเช่นคำขวัญศาลแรงงานที่ว่า "ประหยัด สะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม" ก็ด้วยการตระหนักว่าความยุติธรรมมิใช่เพียงการตัดสินโดยองค์กรตุลาการที่เป็นกลางเท่านั้น หากต้องมิใช่กระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน เพราะคำตัดสินที่มาอย่างเชื่องช้าอาจทำให้ผู้ได้รับความเสียหายไม่สนใจต่อการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทั้งยังทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างคู่ความที่ไม่มีความเท่าเทียมกัน
สรุปขั้นตอน "ขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวรอบใหม่" ก่อนหมดเขต 30 พ.ย.นี้ นายจ้างต้องทำอย่างไรนายจ้างต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง เช็คให้ชัวร์ยื่นให้ทันก่อนหมดเขต
สำหรับนายจ้างหรือสถานประกอบการที่มีการจ้างแรงงานต่างด้าว สามารถตรวจวิธีการขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวรอบใหม่ ให้ถูกกฎหมาย
โดยวันนี้ "คมชัดลึกออนไลน์" รวบรวมวิธีการขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวรอบใหม่ ค่าธรรมเนียม เพื่อให้นายจ้างได้เตรียมความพร้อม และดำเนินการขึ้นทะเบียนให้แก่ลูกจ้างได้อย่างถูกต้อง
ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวรอบใหม่
1.นายจ้างแจ้งข้อมูลต่างด้าวต่อเจ้าหน้าที่
2.เจ้าหน้าที่ออกตรวจคนต่างด้าว ณ สถานประกอบการของนายจ้างระหว่างวันที่ 1 พฤศิจิกายน 2564 - 30 พฤศจิกายน 2564
3.ยื่นคำร้องขออนุญาตทำงานแทนคนต่างด้าวภายใน 7 วัน หลังจากทีแสดงตนต่อเจ้าหน้าที่
4.จัดเก็บอัตลักษณ์บุคคล (Biometrics) ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2564
5.ตรวจโรคต้องห้าม 6 โรค และซื้อประกันสุขภาพ ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2564
6. ยื่นขอตรวจลงตรา วีซ่าภายในวันที่ 1 สิงหาคม 2565
7.จัดทำทะเบียนประวัติคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย (บัตรชมพู)
ค่าธรรมเนียม ขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวรอบใหม่
งานกรรมกร คนละ 12,000 บาท
โดยหากลงทะเบียนเสร็จแล้วจะได้รับ
1.ขึ้้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว
2.ใบอนุญาตทำงานถึงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566
3.จัดเก็บอัตลักษณ์บุคคล (Biometrics)
4.ตรวจสุขภาพ +ประกันสุขภาพ 4 เดือน
5.วีซ่าทำงานถึงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566
6.บัตรประจำตัวคนต่างด้าว (บัตรสีชมพู)
งานรับใช้ในบ้านคนละ 12,900 บาท
1.ขึ้้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว
2.ใบอนุญาตทำงานถึงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566
3.จัดเก็บอัตลักษณ์บุคคล (Biometrics)
4.ตรวจสุขภาพ +ประกันสุขภาพ 4 เดือน
5.วีซ่าทำงานถึงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566
6.บัตรประจำตัวคนต่างด้าว (บัตรสีชมพู)
เอกสารที่ต้องใช้สำหรับการขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวรอบใหม่
นายจ้างบุคคลธรรมดา (6 ชุด)
สำเนาบัตรประชาชน
สำเนาทะเบียนบ้าน
แผนที่บ้าน
นายจ้างนิติบุคคล (6 ชุด)
สำเนาหนังสือรับรองบริษัททั้งชุด อายุไม่เกิน 3 เดือน
สำเนาบัตรประชาชน (ผู้มีอำนาจลงนาม)
สำเนาทะเบียนบ้าน (ผู้มีอำนาจลงนาม)
กรณีไม่ใช่เจ้าบ้านให้เพิ่มเอกสารเจ้าบ้าน 1 ชุด
สำเนาบัตรประชาชน (เจ้าบ้าน)
สำเนาทะเบียนบ้าน (เจ้าบ้าน)
หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่
กรณีรับเหมาก่อสร้าง
สำเนาสัญญารับเหมาก่อสร้าง อายุไม่ต่ำกว่า 2 ปี
สำเนาทะเบียนบ้าน หรือ โฉนดที่ดิน สถานที่ก่อสร้างในสัญญา
สำเนาบัตรประชาชนคู่สัญญา (ผู้ว่าจ้าง)
สำเนาทะเบียนบ้านคู่สัญญา (ผู้ว่าจ้าง)
แผนที่สถานที่ก่อสร้าง
กรณีเป็นกิจการอื่นๆ จะต้องมีเอกสารเพิ่ม
เติม เช่น สัญญาเช่าแผง,ทะเบียนการค้า
ค้าขาย,แผงลอย
ร้านอาหาร
กิจการอื่นๆ
การเกษตร (เพิ่มสำเนาโฉนดที่ดิน)
กรณีเช่าสถานที่
สัญญาเช่า
สำเนาบัตรประชาชน (ผู้ให้เช่า)
สำเนาทะเบียนบ้าน (ผู้ให้เช่า)
แผนที่
แรงงานต่างด้าว
รูปถ่ายแรงงาน ถือ ข้อมูล ตามตัวอย่าง
รูปถ่ายแรงงาน 1 นิ้วครึ่ง จำนวน 6 รูป พื้นหลังสีขาว
สำเนาพาสปอร์ต (ถ้ามี)
สำเนาวีซ่า (ถ้ามี)
สำเนาใบอนุญาตทำงาน (ถ้ามี)
สำเนาบัตรประชาชนแรงงานงาน (ถ้ามี)
สำทะเบียนบ้านที่ประเทศแรงงาน (ถ้ามี)
ถ้าไม่มีเอกสารอะไรเลย จะมีการสอบถามประวัติเพิ่มเติม เช่น ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ อายุ สัญชาติ เพศ เบอร์โทรศัพท์
click อ่านได้ที่นี่...
อ่านข่าวแรงงาน CLICK ที่นี่...
อ่านข่าว click ที่นี่...
อ่านข่าวมติชน click ที่นี่...
อ่านรายชื่อได้ที่นี่...
ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร ทนายพรนารายณ์ ทุยยะค่าย 6 มีค. 67 &nb...
CLICK ที่นี่...
ค้นหากดที่นี่...
CLICK ที่นี่...