ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความอยุติธรรม (justice delayed is justice denied) เฉกเช่นคำขวัญศาลแรงงานที่ว่า "ประหยัด สะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม" ก็ด้วยการตระหนักว่าความยุติธรรมมิใช่เพียงการตัดสินโดยองค์กรตุลาการที่เป็นกลางเท่านั้น หากต้องมิใช่กระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน เพราะคำตัดสินที่มาอย่างเชื่องช้าอาจทำให้ผู้ได้รับความเสียหายไม่สนใจต่อการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทั้งยังทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างคู่ความที่ไม่มีความเท่าเทียมกัน
ปัจจุบันรูปแบบการทำงานในองค์กรธุรกิจต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปมาก โดยมีการทำงานจากที่พักอาศัยของลูกจ้างหรือ Work from Home หรือจากสถานที่อื่นๆ ซึ่งอยู่นอกสถานประกอบการของนายจ้างมากขึ้น
กฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ หรือพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2566 ได้เข้ามาแก้ปัญหานี้ โดยสนับสนุนการทำงานแบบ Work from Home ซึ่งจะเริ่มบังคับใช้ในวันที่ 18 เมษายนนี้ สาระสำคัญมีรายละเอียดดังนี้
อ่านกฎหมายฉบับเต็ม : https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/140A020N0000000005600.pdf
เปิดนโยบายพรรคการเมือง พรรคไหนให้สิทธิแรงงานอย่างไรบ้าง วันที่ 1 พฤษภาคม ของทุกปีเป็นวันแ...
ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย ตรวจสอบกรณีที่มีการระบุว่า กทม. เลื่อนทำทะเบียนและบัตรประจำตัวแรงงานต...
แรงงานต้องรู้ เปิดตัวอย่าง หนังสือข้อตกลง WFH หลัง พ.ร.บ.ฉบับใหม่ ประกาศใช้ ภายหลัง พระราชบัญญั...
‘แรงงานที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน’ (Essential workers หรือ Key workers) คือคนทำงานที่มีควา...
รมว.แรงงาน สั่ง ปลัดแรงงาน เร่งประสานสมาคมโรงแรม-ท่องเที่ยว หาสเปกแรงงานที่ต้องการ พร้อมจัดฝึกอบรมอย...
ในช่วงสองถึงสามปีที่ผ่านมา เราได้เห็นการเปลี่ยนแปลงในวิธีการทำงานที่ลูกจ้างสามารถทำงานที่บ้านมากขึ้น...
อ่านได้ที่นี่ CLICK : กดอ่านตรงนี้...
ตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 มาตรา 16 กำหนดให...