ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความอยุติธรรม (justice delayed is justice denied) เฉกเช่นคำขวัญศาลแรงงานที่ว่า "ประหยัด สะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม" ก็ด้วยการตระหนักว่าความยุติธรรมมิใช่เพียงการตัดสินโดยองค์กรตุลาการที่เป็นกลางเท่านั้น หากต้องมิใช่กระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน เพราะคำตัดสินที่มาอย่างเชื่องช้าอาจทำให้ผู้ได้รับความเสียหายไม่สนใจต่อการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทั้งยังทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างคู่ความที่ไม่มีความเท่าเทียมกัน

รายงานวาระปฏิรูปและวาระพัฒนาด้านต่างๆที่ผ่านความเห็นชอบของสภาปฏิรูปแห่งชาติ เมื่อสิงหาคม 2558

 

 

 

ชุดที่ ๑ : หลักการและกรอบทั่วไป

 

 

วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์การปฏิรูปประเทศไทยและการปรับเปลี่ยนกลไกภาครัฐ

การสังเคราะห์ภาพรวมเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ

รายงาน ผลการสังเคราะห์ประเด็นปฏิรูปและนำเสนอคู่มือการใช้โปรแกรมรวบรวมความคิด เห็นของประชาชนในการใช้ระบบฐานข้อมูลความคิดเห็นประชาชนเพื่อการปฏิรูป 

 

 

ชุดที่ ๒ : วาระปฏิรูปพิเศษ

 

 

วาระปฏิรูปพิเศษ ๑ : วิสาหกิจเพื่อสังคม

วาระปฏิรูปพิเศษ ๒ : การปฏิรูปคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล

วาระปฏิรูปพิเศษ ๓ : การปฏิรูประบบการผังเมืองและการใช้พื้นที่

วาระปฏิรูปพิเศษ ๔ : การกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ

วาระปฏิรูปพิเศษ ๕ : การปฏิรูปแนวทางและมาตรการปกป้องพิทักษ์กิจการพระพุทธศาสนา

วาระปฏิรูปพิเศษ ๖ : การจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม

วาระปฏิรูปพิเศษ ๗ : การปฏิรูปองค์การมหาชน

วาระปฏิรูปพิเศษ ๙ : การปฏิรูปการเกษตรพันธสัญญาให้เป็นธรรม

วาระปฏิรูปพิเศษ ๑๐ : แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจพื้นที่ร่วมชายแดน

วาระปฏิรูปพิเศษ ๑๒ : แนวทางการปฏิรูปการประกันภัยพืชผล

วาระปฏิรูปพิเศษ ๑๓ : แนวทางการปฏิรูประบบประกันสุขภาพ

วาระปฏิรูป พิเศษ ๑๔ : ข้อเสนอการปฏิรูปพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบ การวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

วาระปฏิรูปพิเศษ ๑๕ : แนวทางการสร้างความปรองดอง

 

 

ชุดที่ ๓ : วาระปฏิรูป

 

 

วาระปฏิรูปที่ ๑ : การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ

วาระปฏิรูปที่ ๒ : แผนปฏิรูปการเข้าสู่อำนาจ/ระบบพรรคการเมือง

วาระปฏิรูปที่ ๓ : การปรับโครงสร้างอำนาจส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น

วาระปฏิรูปที่ ๔ : การปฏิรูประบบงบประมาณและการคลังท้องถิ่น : สถาบันวิเคราะห์งบประมาณประจำรัฐสภา

วาระปฏิรูปที่ ๔ : การปฏิรูประบบงบประมาณและการคลังท้องถิ่น : การปฏิรูประบบงบประมาณ

วาระปฏิรูปที่ ๕ : การเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพการบริหารงานแห่งรัฐ

วาระปฏิรูปที่ ๖ : การปฏิรูปกิจการตำรวจ

วาระปฏิรูปที่ ๗ : การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ (แผนกปฏิรูปกฏหมายและกระบวนการยุติธรรม)

วาระปฏิรูปที่ ๘ : การปฏิรูประบบและโครงสร้างภาษี

วาระปฏิรูปที่ ๙ : การปฏิรูประบบการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ

วาระปฏิรูปที่ ๑๐ : ระบบพลังงาน

วาระปฏิรูปที่ ๑๑ : การปฏิรูปที่ดินและการจัดการที่ดิน

วาระปฏิรูปที่ ๑๒ : การผูกขาดและการแข่งขันที่เป็นธรรม : การปฏิรูปกฏหมายแข่งขันทางการค้า

วาระปฏิรูปที่ ๑๓ : การปฏิรูปการเงินฐานรากและสหกรณ์ออมทรัพย์ : แนวทางการปฏิรูปการเงินฐานราก

วาระปฏิรูปที่ ๑๓ : การปฏิรูปการเงินฐานรากและสหกรณ์ออมทรัพย์ : แนวทางการปฏิรูปสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนียน

วาระปฏิรูปที่ ๑๓ : การปฏิรูปการเงินฐานรากและสหกรณ์ออมทรัพย์ : แนวทางการส่งเสริมการให้ความรู้การเงินขั้นพื้นฐานแก่ประชาชน

วาระปฏิรูปที่ ๑๔ : การปฏิรูปภาคการเกษตร

วาระปฏิรูปที่ ๑๕ : การสร้างสังคมผู้ประกอบการ

วาระปฏิรูปที่ ๑๖ : การปฏิรูประบบการจัดการศึกษา

วาระปฏิรูปที่ ๑๗ : การปฏิรูประบบการคลังด้านการศึกษา (ด้านอุปสงค์)

วาระปฏิรูปที่ ๑๘ : การปฏิรูประบบการเรียนรู้

วาระปฏิรูปที่ ๑๙ : แผนปฏิรูปการกีฬา

วาระปฏิรูปที่ ๒๐ : ระบบวิจัยเพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญาของประเทศ

วาระปฏิรูปที่ ๒๑ : ระบบวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางนวัตกรรมของประเทศ

วาระปฏิรูปที่ ๒๒ : การปฏิรูประบบบริการสุขภาพ

วาระปฏิรูปที่ ๒๓ : การปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยคุกคาม

วาระปฏิรูปที่ ๒๔ : การปฏิรูประบบบริหารจัดการและการเงินการคลังด้านสุขภาพ

วาระปฏิรูปที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

วาระปฏิรูปที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : กลไกและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

วาระปฏิรูปที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : การปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

วาระปฏิรูปที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : การปฏิรูประบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

วาระปฏิรูปที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : การปฏิรูปการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

วาระปฏิรูปที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : ระบบจำกัดขยะเพื่อแก้ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

วาระปฏิรูปที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างภาคอุตสาหกรรมและชุมชนด้วยแนวคิดเมืองนิเวศ

วาระปฏิรูปที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาต่ำกว่าระดับอุดมศึกษา

วาระปฏิรูป ที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : การกำหนดให้โรงงานติดตั้งระบบรายงานแสดงผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำทิ้งหรือ คุณภาพอากาศจากปล่องต่อสาธารณะ

วาระปฏิรูปที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : แนวทางปฏิรูปการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม

วาระปฏิรูป ที่ ๒๕ : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : การพัฒนาและปรับปรุงระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานว่าด้วยกองทุนพัฒนา ไฟฟ้า เพื่อการพัฒนาหรือฟื้นฟูท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินงานของโรง ไฟฟ้า

วาระปฏิรูปที่ ๒๖ : การจัดการภัยพิบัติตามธรรมชาติภาวะโลกร้อน

วาระปฏิรูปที่ ๒๗ : การปฏิรูปเพื่อรับมือวิกฤติการณ์น้ำทะเลขึ้นสูงและแผ่นดินทรุด พื้นที่กรุงเทพมหานคและปริมณฑล

วาระปฏิรูปที่ ๒๘ : ระบบเพื่อส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง

วาระปฏิรูปที่ ๒๘ : การปฏิรูประบบเพื่อสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง : แผนปฏิรูปสัมมาชีพชุมชน

วาระปฏิรูปที่ ๒๘ : การปฏิรูประบบเพื่อสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง : สิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ

วาระปฏิรูปที่ ๒๘ : การปฏิรูประบบเพื่อสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง : การศึกษาธนาคารที่ดิน

วาระปฏิรูปที่ ๒๙ : สวัสดิการสังคม

วาระปฏิรูปที่ ๓๐ : การปฏิรูประบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัย

วาระปฏิรูปที่ ๓๑ : ปฏิรูประบบการคุ้มครองผู้บริโภค

วาระปฏิรูปที่ ๓๒ : การกำกับดูแลสื่อ

วาระปฏิรูปที่ ๓๓ : สิทธิเสรีภาพสื่อบนความรับผิดชอบ

วาระปฏิรูปที่ ๓๔ : การป้องกันการแทรกแซงสื่อ

วาระปฏิรูปที่ ๓๕ : ศิลปะ วัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

วาระปฏิรูปที่ ๓๖ : ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนาเพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม

วาระปฏิรูปที่ ๓๗ : ปฏิรูปการแรงงาน

 

 

ชุดที่ ๔ : วาระพัฒนา

 

 

วาระพัฒนาที่ ๑ : การพัฒนาด้านการท่องเที่ยว

วาระพัฒนาที่ ๒ : แผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์

วาระพัฒนาที่ ๓ : การส่งเสริมการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของไทย

วาระพัฒนาที่ ๔ : ระบบค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมเพื่อความเป็นพลเมืองที่ดีและมนุษย์ที่สมบูรณ์

วาระพัฒนาที่ ๕ : การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล

วาระพัฒนาที่ ๖ : การเป็นศูนย์กลางอาเซียน (ASEAN Hub)

วาระพัฒนาที่ ๗ : แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี ๒๕๗๕

วาระพัฒนาที่ ๘ : การปฏิรูประบบข้อมูลเพื่อการพัฒนาประเทศ

 

 

ชุดที่ ๕ : ข้อเสนอการปฏิรูปเร็ว

 

 

ข้อเสนอการปฏิรูปเร็ว

(๑) หลักประกันความมั่นคงด้านรายได้เพื่อการยังชีพของผู้สูงอายุ : การเร่งรัดการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔

(๒) การนำเสนอพื้นที่อนุรักษ์ในทะเลอันดามันเป็นเขตมรดกโลก

(๓) โครงการส่งเสริมการติดตั้งโซลาร์รูฟอย่างเสรี (ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์สำหรับบ้านและอาคาร)

(๔) การกำหนดให้มีองค์การอิสระเพื่่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากหน่วยงานของรัฐ

(๕) การกำหนดอัตราค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ตามระยะเวลาการใช้งานที่เป็นจริงโดยคิดเป็นวินาที

(๖) การเปิดให้สัมปทานปิโตรเลียม รอบที่ ๒๑

(๗) การส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย

(๘) การปฏิรูประบบการแจ้งแหตุฉุกเฉิน หมายเลขเดียว ๑๑๒

(๙) ผลการพิจารณาศึกษากฏหมายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

 
 
 
 

 

 



18/Sep/2015

เกาะติดข่าวกฎหมาย

>> อ่านต่อ

บทความพิเศษ

 7 มีนาคม 67 : ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร 7 มีนาคม 67 : ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร

ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร   ทนายพรนารายณ์ ทุยยะค่าย 6 มีค. 67   &nb...

UPDATE 16-02-66: การแก้ไขกฎหมายเพื่อส่งเสริมการทำงานนอกสถานที่ทำงาน , THE STANDARD WEALTH UPDATE 16-02-66: การแก้ไขกฎหมายเพื่อส่งเสริมการทำงานนอกสถานที่ทำงาน , THE STANDARD WEALTH

ในช่วงสองถึงสามปีที่ผ่านมา เราได้เห็นการเปลี่ยนแปลงในวิธีการทำงานที่ลูกจ้างสามารถทำงานที่บ้านมากขึ้น...

>> บทความอื่นๆ

กฎหมาย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2550)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.)
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2528
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543
พระราชกำหนด การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กระทรวงแรงงาน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กรมจัดหางาน
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
สำนักงานประกันสังคม
สำนักแรงงานสัมพันธ์
สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว
สำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
ศาลแรงงานกลาง
คณะกรรมาธิการการแรงงาน สภาผู้แทนราษฎร
คณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา