ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความอยุติธรรม (justice delayed is justice denied) เฉกเช่นคำขวัญศาลแรงงานที่ว่า "ประหยัด สะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม" ก็ด้วยการตระหนักว่าความยุติธรรมมิใช่เพียงการตัดสินโดยองค์กรตุลาการที่เป็นกลางเท่านั้น หากต้องมิใช่กระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน เพราะคำตัดสินที่มาอย่างเชื่องช้าอาจทำให้ผู้ได้รับความเสียหายไม่สนใจต่อการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทั้งยังทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างคู่ความที่ไม่มีความเท่าเทียมกัน

คำพิพากษาที่น่าสนใจ

3 มีนาคม 67 : สรุปคำพิพากษาศาลฎีกาและคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ พ.ศ. 2565
“คำพิพากษาศาลฎีกา” หรือ “คำพิพากษาฎีกา” อนึ่ง คำว่า 'คำพิพากษาฎีกา' และ 'ฎีกา', ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปนั้น, ผู้เขียนเห็นว่าคำที่ถูกต้องคือ 'คำพิพากษาศาลฎีกา
03/Mar/2024
10 มีค. 66 : การหยุดกิจการชั่วคราวตามมาตรา 75 เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด 2019 ถือว่าชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ? ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินในระหว่างหยุดกิจการไหม ? และต่อมาภายหลังถูกเลิกจ้างจะถือว่าเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่ ? เรียนรู้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ 2480/2565
สรุปคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ 2480/2565 อ่านคำพิพากษาเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2566   ข้อเท็จจริง จำเลยเป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด ประกอบธุรกิจให้บริการจองห้องพักโรงแรมระบบออนไล
17/Mar/2023
พฤศจิกายน 2565 : คำพิพากษาของศาลแรงงานกลางจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ จักต้องมีการรับฟังข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานที่คู่ความนำสืบด้วยพยานหลักฐานที่ชอบ และต้องไม่ใช่การวินิจฉัยนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1775/2564 จำเลยอุทธรณ์ว่า จำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยระบุเหตุแห่งการเลิกจ้างไว้หลายประการ แต่ศาลแรงงานกลางกลับวินิจฉัยโดยมิได้นำเหตุผลทั้งหมดในหนังสือเลิกจ้างมาประกอบการพิจารณาว่าจำ
11/Nov/2022
update มิถุนายน 2565 : การโอนสิทธิการเป็นนายจ้างตาม ป.พ.พ. มาตรา 577 วรรคหนึ่ง จะกระทำได้ต่อเมื่อลูกจ้างยินยอมพร้อมใจด้วย หากลูกจ้างไม่ตอบรับข้อเสนอในการโอนสิทธิการเป็นนายจ้าง จึงเป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4239/2563 การเปลี่ยนแปลงตัวนายจ้างตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 13 (เดิม) กรณีที่นายจ้างเป็นนิติบุคคลจะต้องเป็นการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง โอน หรือควบกับนิติบุคคลใด แต่ก
07/Jun/2022
update เมษายน 2565 : การเลิกจ้างลูกจ้างจะเป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรมหรือไม่นั้น ต้องพิเคราะห์ถึงสาเหตุแห่งการเลิกจ้างว่ามีเหตุจำเป็นหรือเหตุสมควรในการเลิกจ้างหรือไม่
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1757 - 1772/2564   เมื่อเกิดวิกฤตราคาน้ำมันทั่วโลกส่งผลกระทบให้จำเลยที่ 1 มีปริมาณงานลดลงและมีจำนวนพนักงานมากเกินกว่าความต้องการของงาน จำเลยที่ 1 จึงเลิกจ้างล
25/Apr/2022
update : กันยายน 2564 แม้ว่ากิจการขององค์การมหาชนแห่งใดๆ จะไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน แต่เมื่อองค์กรแห่งนั้นได้มีการกำหนดประโยชน์ตอบแทนกรณีการเลิกจ้างพนักงาน ไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานแล้ว กฎเกณฑ์ดังกล่าวย่อมมีผลบังคับใช้กับพนักงานในองค์กรไปโดยปริยาย
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7487/2562 พ.ร.บ.องค์การมหาชน พ.ศ.2542 มาตรา 38 บัญญัติว่า "กิจการขององค์การมหาชนไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน... ทั้งนี้ ผู้อำนวยการ เจ้าหน
26/Sep/2021
update พฤษภาคม 2564 : เงินเบี้ยขยันหาใช่เป็นเงินค่าตอบแทนการทำงานโดยตรงจึงไม่เป็นค่าจ้าง
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ 34/2563 (คดีฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน)   เรื่อง เงื่อนไขการจ่ายเบี้ยขยัน คำนึงถึงการขาด ลา มาสาย หรือชั่วโมงเวลาการทำงานตอบแทนเป็นสำคัญ หากลูกจ้
05/May/2021
นายจ้างประสบปัญหาทางการเงิน ยอดสั่งซื้อลดลง จึงเชื่อได้ว่าหยุดประกอบกิจการเนื่องจากเศรษฐกิจที่ถดถอย นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างทั้งหมดจึงไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ 1499 – 1509/2563   คดีนี้โจทก์กับพวกรวม 11 คน ฟ้องว่า เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2561 จำเลยเลิกจ้างโจทก์กับพวกโดยอ้างว่าไม่สามารถดำเนินกิจการต่อไปได้ เ
13/Jan/2021
นายจ้างลงโทษพักงานโดยไม่จ่ายค่าจ้างแล้ว จึงไม่อาจนำเอาความผิดเดิมที่ลงโทษแล้วมาลงโทษซ้ำโดยการเลิกจ้างได้อีก
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ 555/2562   เรื่อง ลูกจ้างกระทำความผิดเรื่องทะเลาะวิวาท แต่นายจ้างลงโทษพักงาน 1 เดือน โดยไม่จ่ายค่าจ้างอันเป็นการลงโทษไปแล้ว นายจ้างจึงไม่อาจนำเอาการกระทำ
09/Oct/2020
การที่นายจ้างด่วนเลิกจ้างลูกจ้างหลังจากลูกจ้างทำงานเพียง ๕๐ วัน และไม่ได้บอกกล่าวล่วงหน้า ถือเป็นการเลิกจ้างที่ไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
คดีนี้โจทก์ฟ้องว่า วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๒ จำเลยจ้างโจทก์ทำงานตำแหน่งรองผู้อำนวยการ ค่าจ้างอัตราสุดท้ายเดือนละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท กำหนดจ่ายค่าจ้างทุกสิ้นเดือน วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ จำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยมิได้กร
22/Aug/2020
การที่นายจ้างแสวงหาประโยชน์โดยอาศัยพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 และเป็นการขัดต่อวัตถุประสงค์ของกฎหมายดังกล่าว ย่อมเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 5 , ไม่นับระยะเวลาในระหว่างปิดงานคำนวณเป็นอายุงานของลูกจ้าง
คดีนี้โจทก์ (นายจ้าง) ฟ้องว่า โจทก์มีวัตถุประสงค์ในการผลิตเครื่องยนต์และขายอะไหล่เครื่องยนต์ จำเลยมีคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ที่.../2561 ชี้ขาดว่ากรณีโจทก์ปิดงานไม่รับนาย A กับพวกรวม 5 คน ผู้กล่า
02/Jul/2020
แม้ว่าสัญญาจ้างแรงงานเกิดขึ้นแล้ว แต่เมื่อลูกจ้างยังมิได้เริ่มงาน นายจ้างบอกเลิกสัญญา จึงมิใช่กรณีเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตามกฎหมายแรงงาน ลูกจ้างไม่มีสิทธิเรียกร้องสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าและค่าเสียหายจากการเลิกจ้าง
อ้างอิงคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ ๘๐/๒๕๖๓   คดีนี้โจทก์ฟ้องว่า เดิมโจทก์ทำงานอยู่บริษัท A ตำแหน่ง Division Sales Manager ได้รับค่าจ้างและค่าตอบแทนเดือนละ ๑๐๖,๐๐๐ บาท และค่าตอบแทบรา
05/May/2020
การลงโทษที่แตกต่างกัน เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เท่าเทียมและเป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
ลูกจ้างตำแหน่งพนักงานขาย ให้พนักงานอื่นตอกบัตรเข้า – ออกแทน เพื่อความสะดวกในการไปพบลูกค้าโดยไม่เข้ามาบริษัทเท่านั้น ไม่เป็นทุจริตต่อหน้าที่ แต่นายจ้างเลิกจ้างด้วยเหตุดังกล่าว ทั้งที่พนักงานคนอื่
08/Apr/2020
รวบรวมคำพิพากษาศาลฎีกาที่ระบุว่า “ค่าเที่ยว” เป็น “ค่าจ้าง” การจ้างแรงงานรายเดียวกันอาจกำหนดวิธีคิดคำนวณค่าจ้างเป็นหลายแบบผสมผสานกันได้ มิใช่ว่าหากค่าตอบแทนมีจำนวนไม่แน่นอนเท่ากันทุกเดือนแล้วจะไม่ใช่ค่าจ้าง
คำพิพากษาฎีกาที่ 6100/6101/2556   โจทก์ทั้งสองฟ้องว่า เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2540 และวันที่ 2 กรกฎาคม 2544 จำเลยรับโจทก์ ที่ 2 และโจทก์ที่ 1 ตามลำดับเข้าทำงานเป็นลูกจ้างตำแหน่งพนักงานขับ
27/Mar/2020
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ 1258/2562 เมื่อลูกจ้างไม่ยินยอมโอนการจ้าง นายจ้างเลิกจ้างถือว่าไม่เป็นธรรม ไม่มีเหตุผลอันสมควร
นายจ้างจะโอนลูกจ้างให้ทำงานกับบริษัทในเครือตามนโยบายเพื่อลดค่าใช้จ่ายที่ซ้ำซ้อน อันเป็นไปเพื่อประโยชน์ของนายจ้างเพียงฝ่ายเดียว ลูกจ้างเห็นว่าสวัสดิการบริษัทใหม่ลดลงกว่าเดิม จึงปฏิเสธ นายจ้างจึงเลิกจ้า
03/Nov/2019
ลดจำนวนลูกจ้างเพราะขาดทุน ไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๒๒๖ – ๒๓๐๔/๒๕๖๑ เรื่อง นายจ้างประสบภาวะขาดทุนมาตลอด จึงได้ยื่นข้อเรียกร้องต่อสหภาพแรงงานเพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายและต้นทุนการผลิตลง ทั้งก่อนเลิกจ้างได้จัดทำโครงการสมัครใจลาออก แ
06/Sep/2019
หากลูกจ้างกระทำความผิดทั้งสองครั้งในเรื่องเดียวกัน เมื่อนายจ้างเคยมีหนังสือเตือนมาก่อนแล้วแต่ยังกระทำผิดในเรื่องเดียวกันอีกภายในระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปีนับแต่กระทำผิดครั้งแรก เลิกจ้างได้โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4110/2561   โจทก์เป็นผู้จัดการแผนกคลังสินค้ามีหน้าที่จัดทำเอกสารใบควบคุมการส่งสินค้าเพื่อจ่ายสินค้า ออกจากคลังสินค้าและจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้า ทั้งนี้ก่อนนำสิ
12/Apr/2019
การทำงานอันเป็น “ส่วนหนึ่งส่วนใดในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบ” ของผู้ประกอบกิจการต้องเป็น “งานหลัก” เท่านั้น ถึงจะเข้ามาตรา ๑๑/๑ และได้รับสวัสดิการที่เท่าเทียมกัน
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ที่ ๒๘๕ – ๒๙๘/๒๕๖๑ (เหมาค่าแรง มาตรา ๑๑/๑)   การทำงานอันเป็น “ส่วนหนึ่งส่วนใดในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบ” ของผู้ประกอบกิจการต
01/Jan/2019
นายจ้างลดค่าจ้าง และปรับเปลี่ยนตำแหน่งลูกจ้างมาโดยตลอดหลายปี โดยลูกจ้างมิได้โต้แย้งคัดค้านหรือไปร้อง พฤติการณ์ถือได้ว่านายจ้างและลูกจ้างต่างตกลงกันโดยปริยายเปลี่ยนแปลงข้อตกลงการจ้างแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๐๑๗/๒๕๖๑   เรื่อง นายจ้างลดค่าจ้าง และปรับเปลี่ยนตำแหน่งลูกจ้างมาโดยตลอดหลายปี โดยลูกจ้างมิได้โต้แย้งคัดค้านหรือไปร้องพนักงานตรวจแรงงาน ส่วนรถยนต์ประจำตำแหน่งพร้อมคนขับ
06/Nov/2018
การปิดงานเป็นเหตุให้การทำงานได้ยุติลงชั่วคราวจึงไม่มีวันทำงาน ไม่มีวันลา และไม่มีวันมาทำงานสายที่จะคำนวณเงินโบนัส เมื่อไม่มีข้อตกลงพิเศษว่านายจ้างจะไม่นำวันปิดงานมาหักออกจากวันทำงานเพื่อคำนวณเงินโบนัส นายจ้างจึงมีสิทธินำวันที่ลูกจ้างไม่มาทำงานในระหว่างปิดงาน 57 วัน เป็นข้อมูลคำนวณเงินโบนัสที่จะจ่ายให้แก่ลูกจ้างได้
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ 950/2561 โดยคดีนี้โจทก์รวม 29 คน ฟ้องว่าโจทก์ที่ 1 เป็นสหภาพแรงงานในสถานประกอบกิจการของจำเลย โจทก์ที่ 2 เป็นประธานสหภาพแรงงาน ในแต่ละปีจำเลยจ่ายโบนัสให้แก
08/Aug/2018
บริษัท A ประกอบธุรกิจให้บริการส่งแพทย์และพยาบาลเข้าไปทำงานในห้องพยาบาลของบริษัท B ซึ่งประกอบธุรกิจผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ จึงไม่ใช่กรณีที่การทำงานนั้นเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการ บริษัท B จึงไม่ใช่นายจ้าง ตามมาตรา 11/1 แห่ง พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน 2541
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8920/2560   คดีนี้โจทก์ฟ้องว่า วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 จำเลยที่ 1 รับโจทก์เข้าทำงานตำแหน่งนักจิตวิทยาการปรึกษา ค่าจ้างเดือนละ 35,500 บาท จำเลยที่ 1 ประกอบธุรกิจจ
05/Jul/2018
นายจ้างไม่มีข้อบังคับกำหนดอายุเกษียณของลูกจ้างไว้ การเลิกจ้างด้วยเหตุที่หาคนรุ่นใหม่มาทำงานทดแทน โดยไม่ปรากฏหลักเกณฑ์เงื่อนไขในการคัดเลือกเพื่อเลิกจ้างลูกจ้าง เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9052/2559 เรื่องนายจ้างไม่มีข้อบังคับฯ กำหนดอายุเกษียณของลูกจ้างไว้ ลูกจ้างเข้าทำงานตอนอายุ 55 ปี ถูกเลิกจ้างตอนอายุ 77 ปี ลักษณะการทำงานของลูกจ้างมุ่งเน้นอาศัยความรู
22/May/2018
เมื่อนายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างแล้ว การที่นายจ้างจะมอบหมายงานให้ลูกจ้างทำหรือไม่เป็นสิทธิ ของนายจ้างจริงตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2850/2525 แต่การที่นายจ้างไม่มอบหมายงานให้ลูกจ้างทำ ต้องไม่เป็นที่เสียหายแก่ลูกจ้างด้วย
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5462/2555 โจทก์ฟ้องอ้างว่าจำเลยมีคำสั่งย้ายโจทก์จากตำแหน่งพนักงานขับรถไปทำงานตำแหน่ง ผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายขนส่งเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างทำให้โจทก์มีรายได้ลดลง จำเลยให้กา
24/Apr/2018
การกระทำของลูกจ้างที่ถือว่าเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ตามพ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 119 (1) และนายจ้างมีสิทธิเลิกจ้างโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยและไม่ต้องจ่ายค่าเสียหายในเหตุเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม ให้พิจารณาความหมายคำว่า "ทุจริต" ตามพจนานุกรม คือ ความประพฤติชั่ว โกง ไม่ซื่อตรง
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 642/2559 นายธนู บุญแต่ง โจทก์ บริษัทโตโยต้า โกเซ รับเบอร์ (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย   ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มิได้ให้ความหมายคำว่า "ทุจริต
29/Mar/2018
นายจ้างกลั่นแกล้งลูกจ้างโดยประเมินผลการปฏิบัติงานต่ำกว่าความเป็นจริงมาก ศาลแรงงานต้องพิจารณาไต่สวนให้ปรากฏข้อเท็จจริงว่าการประเมินการปฏิบัติงานของบริษัทเป็นการกลั่นแกล้งหรือไม่ แล้ววินิจฉัยไปตามรูปคดี ไม่ใช่ด่วนยกฟ้อง
ทั้งนี้เป็นไปคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๗๖๒๑/๒๕๕๙   คดีนี้ โจทก์ฟ้องว่าจำเลยรับโจทก์เข้าทำงานตำแหน่งพนักงานซ่อมบำรุง จำเลยได้ประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี ๒๕๕๐ ในหัวข้อเกี่ยวกับคุณภาพ และหัวข้อเกี
20/Feb/2018
ทนายความไม่สามารถเดินทางมาศาลทันเวลา และได้แจ้งเหตุขัดข้องต่อเจ้าหน้าที่ศาลแล้ว ทั้งคู่ความอีกฝ่ายทราบเรื่อง ถือเป็นความจำเป็นที่ไม่อาจมาศาลได้ตามกำหนด ศาลแรงงานต้องดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่ ไม่ถือว่าเป็นการขาดนัด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3042-3043/2560 ระหว่างนายวีระ ออมสิน โจทก์ กับบริษัทโยโรซึ (ไทยแลนด์) จำกัด กับพวกจำเลย   ข้อเท็จจริงยุติว่าก่อนเวลานัดสืบพยานโจทก์และพยานจำเลย รถยนต์ที่ทนายความจำเลยที่
16/Jan/2018
แม้การทำงานล่วงเวลาจะเป็นความสมัครใจของลูกจ้าง แต่การที่สหภาพแรงงานจูงใจลูกจ้างไม่ให้ทำงานล่วงเวลา ถือเป็นการแทรกแซงอำนาจการตัดสินใจของลูกจ้าง และต่อต้านอำนาจบังคับบัญชาของนายจ้าง มีเหตุสมควรเลิกจ้างได้
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8888/2559 ระหว่างบริษัทโออิชิ เทรดดิ้ง จำกัด ผู้ร้อง และนายสายยนต์ กัณหา ผู้คัดค้าน   การที่ผู้คัดค้านซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างทำการจูงใจให้ลูกจ้างของผู้ร้องให้ไม
18/Nov/2017
ลูกจ้างหยุดงานโดยลาป่วยพร้อมกัน เพื่อขอให้นายจ้างขึ้นเงินเดือนและโบนัส แม้มีใบรับรองแพทย์แต่ก็ถือว่าเป็นพฤติการณ์จงใจ ทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ถือว่าเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม
มีคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ ๗๗๐ – ๗๗๕/๒๕๖๐ เรื่อง ลูกจ้างหยุดงานด้วยการ “ลาป่วยพร้อมกัน” พร้อมขอใบรับรองแพทย์เพื่อกดดันให้จำเลยขึ้นเงินเดือนและโบนัสตามหนังสือเวียน พฤติการณ
01/Nov/2017
เทศบาลได้ขอใช้อัฒจันทร์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเพื่อการแข่งขันกีฬา แล้วปรากฏว่าไฟฟ้ารั่วไหลมาตามรั้วของอัฒจันทร์ เข้าช็อตจนมีคนตาย เทศบาลในฐานะผู้ขอใช้สถานที่ดังกล่าวนั้นจะต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ผู้ตาย
จำเลยเป็นเทศบาลนครศรีธรรมราช มีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยเป็นหน่วยงานของรัฐสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย นาย ว. ผู้ตายเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของโจทก์ทั้งสอง   เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2549 ถึงว
29/Oct/2017
แม้นายจ้างมีสิทธิปิดงานบางส่วนเฉพาะลูกจ้างที่มีข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ แต่ถ้าเป็นการจงใจเลือกปฏิบัติใช้การปิดงานโดยมีเจตนากลั่นแกล้งให้ลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้ ถือว่าเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7362/2559 ระหว่างบริษัท บี.เมเยอร์ (ไทยแลนด์) จำกัด โจทก์ และนายจิรธร ปุญญฤทธิ์ กับพวก จำเลย   แม้ พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 5 และมาตรา 22 วรรคสาม ไม่มี
21/Jul/2017
จ้างสอนภาษาจีน จ่ายค่าตอบแทนเป็นรายชั่วโมง แม้ส่งประกันสังคมก็ไม่ใช่จ้างแรงงาน จ้างสอนภาษาอังกฤษพิเศษในสถาบันการศึกษา จ่ายค่าตอบแทนรายชั่วโมง ไม่อยู่ในบังคับบัญชา ไม่ใช่นิติสัมพันธ์ตามสัญญาจ้างแรงงาน
อ้างอิงตามคำพิพากษาฎีกาที่ ๕๔๖๘/๒๕๕๔ เรื่อง จ้างสอนภาษาจีนจ่ายค่าตอบแทนเป็นรายชั่วโมง แม้ส่งประกันสังคมก็ไม่ใช่จ้างแรงงาน   จำเลยจ้างโจทก์สอนเป็นหลักสูตรตามช่วงเวลาที่เรียกกันว่า “คอร
23/Jun/2017
ลูกจ้างลาป่วยลากิจบ่อยครั้ง นายจ้างเตือนและให้เข้าโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน แต่ลูกจ้างก็ยังไม่ปรับปรุงพฤติการณ์ดังกล่าว ถือว่าเป็นการหย่อนสมรรถภาพในการทำงาน นายจ้างเลิกจ้างได้ มิใช่เป็นการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษที่ 48/2560    คดีนี้โจทก์ฟ้องว่าจำเลยจ้างโจทก์เข้าทำงานเป็นลูกจ้างตำแหน่งฝ่ายการผลิต เริ่มงานตั้งแต่วันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๙ ต่อมาวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๗ จำเ
04/Jun/2017
แม้นายจ้างจะรับลูกจ้างมาทำงานในตำแหน่งที่จ้าง แต่ไม่เป็นการผูกมัดว่าต้องทำงานในตำแหน่งนั้นตลอดไป นายจ้างสามารถสับเปลี่ยนได้ ตราบใดที่ผลประโยชน์ลูกจ้างมิได้ลดลง ถือเป็นการบริหารงานบุคคล ไม่ถือเป็นการเปลี่ยนสภาพการจ้างแต่อย่างใด
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3539/2536   คำพิพากษาย่อสั้น   การที่จำเลยรับโจทก์ทั้งหกเข้าทำงานในตำแหน่งพนักงานรีดผ้าเครื่องใหญ่ตลอดมา ไม่เป็นการผูกมัดจำเลยว่าจะต้องให้โจทก์ทั้งห
04/Jun/2017
เลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นคนต่างด้าวที่ไม่ได้รับอนุญาตทำงาน ศาลจะถือว่าเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม
อ้างอิงคำพิพากษาฎีกาที่ 2549/2557  ระหว่างนายซิล โจทก์  และบริษัทดานซ์ จำเลย   โจทก์ฟ้องว่า เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2551 โจทก์เป็นพนักงานของจำเลย ตำแหน่งสุดท้าย เป็นผู้จัดการฝ่ายปฏ
11/Feb/2017
เมื่อลูกจ้างนายจ้างไม่อาจทำงานร่วมกันได้ ศาลแรงงานสามารถกำหนดจำนวนค่าเสียหายให้นายจ้างชดใช้ให้แทน เพราะการที่นายจ้างจะรับลูกจ้างเข้าทำงานต่อไปนั้นมิใช่พิจารณาเพียงความสามารถของลูกจ้างเท่านั้น แต่จะต้องพิจารณาด้วยว่า นายจ้างกับลูกจ้างนั้นมีความเข้าใจอันดีต่อกัน และจะสามารถกลับไปทำงานร่วมกันได้โดยไม่เป็นปัญหาแก่ทั้งสองฝ่าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8629/2550   คำพิพากษาย่อสั้น   พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 49 ได้กำหนดขั้นตอนให้ศาลแรงงานสั่งเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ สั่งใ
28/Nov/2016
การพิจารณาว่าองค์กรนั้นประกอบกิจการที่ไม่ได้แสวงหากำไรทางเศรษฐกิจอันจะเข้าข้อยกเว้นไม่ต้องนำบทบัญญัติ หมวด 11 ค่าชดเชย มาบังคับใช้ตามกฎกระทรวง (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 หรือไม่ ต้องคำนึงถึงลักษณะการประกอบกิจการแท้จริงและวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกิจการที่ระบุในข้อบังคับประกอบด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1557/2559   คำพิพากษาย่อสั้น   การพิจารณาว่าจำเลยที่ 1 ประกอบกิจการที่ไม่ได้แสวงหากำไรทางเศรษฐกิจอันจะเข้าข้อยกเว้นไม่ต้องนำบทบัญญัติ หมวด 11 ค่าชดเชย มาบังคั
06/Sep/2016
ลูกจ้างลงลายมือในสัญญาจ้างแล้ว แม้นายจ้างยังไม่ได้ลงลายมือชื่อ ถือว่าสัญญาจ้างแรงงานเกิดขึ้นแล้ว ต่อมานายจ้างระงับการทำสัญญา ลูกจ้างฟ้องค่าเสียหายได้
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1519/2557   วันที่ 3 พฤศจิกายน 2549 จำเลยทำสัญญาจ้างโจทก์ในตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายคลื่นวิทยุมีกำหนด 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 15 พฤศจิกายน 255
27/Aug/2016
นายจ้างให้ลูกจ้างออกก่อนวันที่ลูกจ้างประสงค์จะลาออก โดยอ้างว่าลูกจ้างกระทำผิดเป็นการเลิกจ้าง ส่วนค่าเช่าบ้านถือว่าไม่เป็นค่าจ้าง
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3129/2558   การที่โจทก์ซึ่งเป็นลูกจ้างแสดงเจตนาลาออกจากงานต่อจำเลยที่ 1 นายจ้าง เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 โดยให้มีผลวันที่ 10 พฤษภาคม 2552 ย่อมเป็นการแสดงเจตนาบอก
27/Aug/2016
การนับจำนวนลูกจ้างในสถานประกอบกิจการเพื่อเปรียบเทียบกับจำนวนสมาชิกสหภาพแรงงาน ต้องนับจำนวนลูกจ้างทั้งหมดในทุกหน่วยงานหรือทุกสาขารวมกัน ไม่ใช่นับเฉพาะจำนวนลูกจ้างสาขาที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการลูกจ้าง
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1273/2558   โจทก์ฟ้องว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่ขออนุญาตศาลแรงงานก่อน อันเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 52 เนื่องจากโจทก์เป็นกรรมการลูกจ
27/Aug/2016
การที่จำเลยครอบครองที่ดินพิพาทอันเป็นของโจทก์โดยสำคัญผิดว่าที่ดินเป็นของตนเองมาเกินสิบปี ก็ถือไม่ได้ว่าจำเลยครอบครองที่ดินของจำเลยเอง หากแต่ต้องถือว่าจำเลยครอบครองที่ดินของบุคคลอื่นที่สามารถนับระยะเวลาการครอบครองปรปักษ์ได้
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6151/2558   คำพิพากษาย่อสั้น   จำเลยให้การและฟ้องแย้งว่า จำเลยครอบครองที่ดินพิพาทของโจทก์รวมทั้งทำประโยชน์ในที่ดินพิพาทโดยเข้าใจผิดว่าเป็นที่ดินของจำเล
28/May/2016
นายจ้างมีนโยบายลดเงินเดือนลูกจ้างทุกคน และลูกจ้างไม่ได้โต้แย้งหรือคัดค้านแต่อย่างใด ถือว่านายจ้างไม่สามารถกระทำได้ ผิด พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 นายจ้างต้องชดใช้และจ่ายเงินให้ลูกจ้างนับแต่วันที่ลดเงินเดือน
โดยในกรณีนี้มีคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3456/2545 โดยสรุปได้ว่า การที่จำเลยตกลงลดเงินเดือนโจทก์ซึ่งเป็นลูกจ้างลงร้อยละ  25 เหลือเงินเดือนละ  12,700  บาท และโจทก์ลงชื่อรับไว้โดยไม่ได้ทักท้
09/Apr/2016
หลังจากลูกจ้างทำข้อตกลงสภาพการจ้างกับนายจ้างแล้ว บริษัทได้ทยอยเรียกลูกจ้างเข้าทำงานเป็นชุด ส่วนลูกจ้างที่ยังไม่ได้เรียกให้รออยู่ที่พักและยังจ่ายค่าจ้างและให้สวัสดิการ ดังนั้นการที่นายจ้างกำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีของลูกจ้างโดยแจ้งให้ทราบล่วงหน้าในช่วงที่รอเรียกตัวเข้าทำงาน ถือได้ว่าจัดให้ลูกจ้างหยุดพักผ่อนตามกฎหมายแล้ว จึงไม่ต้องจ่ายค่าทำงานในวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามมาตรา 64
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่  17020 - 17021/2557 ระหว่างบริษัทสยามมิชลิน จำกัด ในฐานะโจทก์ กับนายธนกร สมสิน จำเลยร่วม นายนิสัย สุขระ ในฐานะพนักงานตรวจแรงงาน จำเลย   คำพิพากษาย่อสั้น
04/Mar/2016
พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 121 ไม่ได้บัญญัติให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ต้องวินิจฉัยว่าการเลิกจ้างที่เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม ต้องใช้เหตุเลิกจ้างเฉพาะที่ระบุไว้ในหนังสือเลิกจ้างเท่านั้น สามารถยกข้อเท็จจริงที่ได้จากการสอบสวนพยานฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้างขึ้นวินิจฉัยได้
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่  3943/2557 ระหว่างนายสมาน ศึกษา ลูกจ้างในฐานะโจทก์ และนายอัมพร นีละโยธิน กับพวก ในฐานะจำเลย   ย่อสั้น   พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 121
22/Jan/2016
แม้นายจ้างจะปิดงานโดยถูกขั้นตอนตามกฎหมาย แต่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานก็สามารถใช้ดุลพินิจมีคำสั่งให้นายจ้างที่ปิดงาน รับลูกจ้างกลับเข้าทำงานตามเดิม โดยจ่ายค่าจ้างตามอัตราที่เคยจ่าย เพื่อรอการชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้ ถือว่าใช้อำนาจตามพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 35 โดยถูกกฎหมาย
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1666/2557   ก่อนที่จำเลยทั้งสองออกคำสั่งที่ 94/2550 สั่งให้โจทก์รับลูกจ้างในส่วนที่โจทก์ปิดงานกลับเข้าทำงานและจ่ายค่าจ้างให้ตามอัตราที่เคยจ่าย จำเลยทั้งสองให้
21/Dec/2015
สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นจะถือว่าเป็นโมฆะ ส่วนสัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์นั้นต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายผู้ต้องรับผิด หรือมีการวางมัดจำ หรือชำระหนี้บางส่วนแล้ว จึงจะสามารถฟ้องร้องบังคับคดีกันได้
ศาลฎีกาจะพิจารณาสัญญาว่าถ้ามีถ้อยคำว่า “จะโอน” “จะไปโอน” “จะไปจดทะเบียน" หรือถ้อยคำอื่นหรือพฤติการณ์ที่อนุมานได้ว่าจะไปโอน จะถือเป็นสัญญาจะซื้อจะ
20/Nov/2015
ทำงานในโรงแรมแล้วด่าหรือว่าลูกค้า ซึ่งในกฎระเบียบได้เขียนห้ามกระทำการดังกล่าวไว้แล้ว แม้ถูกเลิกจ้าง นายจ้างก็ต้องจ่ายค่าชดเชยตามกฎหมาย แต่ไม่ถือว่าเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม นายจ้างจึงไม่ต้องจ่ายค่าเสียหายเพิ่มเติมหรือรับกลับเข้าทำงานแค่อย่างใด
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3177/2545   คำพิพากษาย่อ (ย่อสั้น) ระหว่างที่โจทก์ปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานขนกระเป๋าในโรงแรมของจำเลย มัคคุเทศก์ได้นำรถตู้มารับแขกกลุ่มหนึ่ง โจทก์ได้พูดกับ
31/Oct/2015
กิจการที่จัดตั้งขึ้นโดยมิได้มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหาผลกำไร เช่น งานองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) งานมูลนิธิต่างๆ ยกเว้นไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามมาตรา 118 ถึงมาตรา 122 พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 แต่ไม่ได้ยกเว้นเรื่องค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 49 รวมถึงในองค์การมหาชนที่มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรเป็นหลักด้วยเช่นเดียวกัน
มีคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 14399/2553 และคำพิพากษาฎีกาที่  1375/2557 ได้ระบุไว้ชัดเจน ดังนี้     คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 14399/2553   คำพิพากษาย่อ (ย่อสั้น)   พ.ร.
26/Sep/2015
ลูกจ้างรายวันที่ทำงานก่อสร้าง ซึ่งเป็นกิจการหลักของนายจ้าง ต้องได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายประกันสังคม นายจ้างจะยกเหตุว่าเป็นงานครั้งคราว เป็นงานจร หรืองานตามฤดูกาล แล้วไม่ยอมให้ลูกจ้างเข้าประกันสังคมไม่ได้
เทียบเคียงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2659/2556   คำพิพากษาย่อสั้น   "ลูกจ้างของนายจ้าง" ที่จ้างไว้เพื่อทำงานอันมี "ลักษณะ" เป็นครั้งคราว เป็นการจร หรือเป็นไปตามฤดูกา
29/Aug/2015
พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน 2541 มาตรา 13 ใช้กับกรณีมีการเปลี่ยนแปลงตัวนายจ้าง มีผลให้นายจ้างใหม่ต้องรับสิทธิและหน้าที่อันเกี่ยวกับลูกจ้างที่มีอยู่กับนายจ้างเดิมทุกประการ แต่หากเป็นการโอนสิทธิความเป็นนายจ้างให้แก่นายจ้างใหม่นั้น กรณีนี้ต้องด้วย ป.พ.พ.มาตรา 577 นายจ้างเดิมและนายจ้างใหม่จะทำได้เมื่อลูกจ้างยินยอม และเมื่อลูกจ้างยินยอมแล้วต้องปฏิบัติตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของนายจ้างใหม่ด้วยเช่นกัน
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงตัวนายจ้าง เช่น กรณีการควบรวมกิจการเข้าด้วยกัน , กรณีการจดทะเบียนโอนกิจการไปให้คนอื่นดำเนินการต่อ ไม่ว่านายจ้างนั้นจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ในลักษณะเช่นนี้จะเรียกว่า “
18/Aug/2015
การบันทึกเสียงที่แอบบันทึกขณะมีการสนทนา ศาลสามารถให้นำมารับฟังได้ในระหว่างสืบพยาน เนื่องจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 226 ไม่ได้บัญญัติห้ามไม่ให้นำไปใช้กับการแสวงหาพยานหลักฐานของบุคคลธรรมดา
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2281/2555 ที่ได้วางบรรทัดฐานใหม่เอาไว้อย่างชัดเจนว่า พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบแต่ได้มาโดยการกระทำที่ไม่ชอบโดยเอกชน ย่อมตกอยู่ภายใต้บังคับของบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธี
16/Jul/2015
ในระหว่างนัดหยุดงาน กรรมการลูกจ้างในฐานะกรรมการสหภาพแรงงานได้เปลือยกายถ่ายรูปที่หน้าป้ายชื่อบริษัท และมีการนำไปเผยแพร่ทางสถานีโทรทัศน์ ทำให้บริษัทเสียหายต่อชื่อเสียงในทางการค้า ถือเป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับการทำงาน มีเหตุสมควรเลิกจ้างได้
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่  7791/2556 ระหว่างบริษัทเจนเนอรัลมอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด ในฐานะผู้ร้อง และนายไพโรจน์ โคตรสังข์ ในฐานะผู้คัดค้าน   คำพิพากษาย่อ (ย่อสั้น)   ผ
03/Jul/2015
ยังผ่อนรถไม่หมด แต่รถถูกขโมยไปเสียก่อน ลูกหนี้ต้องชำระค่าผ่อนรถอยู่ไหม
เรื่องนี้มีคำพิพากษาศาลฎีกาแล้วว่า สัญญาเช่าซื้อเป็นสัญญาเช่าทรัพย์ประเภทหนึ่ง เมื่อรถยนต์ที่เช่าซื้อสูญหายสัญญาเช่าซื้อย่อมระงับไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 567   แต่อย่างไรก็ตามล
19/Jun/2015
แม้ลูกจ้างจะถูกเลิกจ้างระหว่างทดลองงาน นายจ้างก็ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้าอยู่ดี
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5131/2550 และ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6238/2545   คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5131/2550   คำพิพากษาย่อ (ย่อสั้น)   จำเลยที่ 1 รับโจทก์เข้าทำงานโดยให้
15/Jun/2015
นายจ้างขออำนาจศาลแรงงานเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง
อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่  1902 - 1904/2556 ระหว่างบริษัทอาปีโกไฮเทค จำกัด (มหาชน) – ผู้ร้อง กับนายอำนาจ มณีแสง กับพวก – ผู้คัดค้าน โดยผู้ร้องขอให้ศาลเลิกจ้างผู้คัดค้านในฐานะกรรมการล
02/May/2015
ลูกจ้างไปทำงานที่อื่นระหว่างนายจ้างประกาศหยุดกิจการชั่วคราว ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 75 ถือว่ามิใช่การละทิ้งหน้าที่หรือทำผิดสัญญาจ้าง เมื่อจะเลิกจ้างลูกจ้าง นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยแก่ลูกจ้าง
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่  7675/2548 โดยสาระสำคัญระบุว่า   1. กิจการของนายจ้างประสบกับการขาดสภาพคล่องเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ นายจ้างจึงมีประกาศแจ้งให้ลูกจ้างทราบถึงความจำเป็นต้อ
18/Apr/2015
บริษัทไม่ได้ยุบหน่วยงานที่ลูกจ้างทำงาน แต่บริษัทเลือกเลิกจ้างลูกจ้างเพียงคนเดียวจากลูกจ้างในหน่วยงาน 30 คน โดยไม่ปรากฏหลักเกณฑ์การคัดเลือกและเหตุผล เป็นการเลิกจ้างที่ไม่มีเหตุอันสมควรเพียงพอ จึงเป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3653/2557 โดยมีสาระสำคัญของคำพิพากษา ดังนี้   บริษัทให้การว่าจำเป็นต้องยุบหน่วยงานที่ลูกจ้างทำงาน แต่นำสืบว่าบริษัทต้องการลดตำแหน่งงานโดยไม่ได้นำสืบว่าบริษั
31/Mar/2015
แม้จะเป็นการเลิกจ้างเพราะสิ้นสุดสัญญาจ้างตามที่กำหนดเวลาไว้แน่นอนแล้ว ซึ่งถือว่าเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม แต่นายจ้างก็ยังต้องจ่ายค่าชดเชยอยู่ดี
มีคำพิพากษาศาลฎีกาที่   7335/2549 ระหว่างโจทก์ คือ นายวัชรา ขนอม และจำเลย คือ บริษัทบัตรกรุงไทย จำกัด (มหาชน) กับพวก       สาระสำคัญของคำพิพากษา ระบุไว้ว่า
21/Feb/2015
ลูกจ้างใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของบริษัทเล่นอินเตอร์เน็ต พูดคุยหรือ chat ในเรื่องส่วนตัวเป็นประจำเกือบทุกวัน นายจ้างสามารถไล่ออกได้ โดยไม่ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า
วิเคราะห์จากคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2564/2557 พบว่า   (1) นายจ้างสามารถเลิกจ้างลูกจ้างได้ถ้าเล่นอินเตอร์เน็ตในเวลาทำงาน โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า และไม่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน แต่ต้องจ่ายค่าชด
10/Feb/2015
สถานประกอบการหรือนายจ้างย่อมมีอำนาจในการบริหารและบังคับบัญชาพนักงาน ในที่นี้รวมถึงการกำหนดสถานที่ทำงานของพนักงานด้วยเช่นกัน
แม้จะปรากฏว่าคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์มีคำสั่งให้นายจ้างรับพนักงานกลับเข้าทำงานในตำแหน่งเดิม หรือไม่ต่ำกว่าเดิม ในอัตราค่าจ้างเดิม   แต่ในเมื่อปรากฏว่าคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ไม่ได้
04/Feb/2015
เปิดเพลงลิขสิทธิ์ของบริษัทในร้านอาหาร แต่ไม่ปรากฎว่าเพื่อหากำไร ไม่ถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537
ถ้าท่านเปิดเพลงให้ลูกค้าฟังในร้านอาหาร แต่ไม่ได้นำเพลงไปสร้างผลกำไรให้แก่ร้านตนเอง ตัวอย่างเช่น นำไปจัดทำเป็นคาราโอเกะ , มีการเล่นดนตรีสดในร้านอาหาร ถือว่าไม่ผิด พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 ทั้งสิ้น เพรา
09/Jan/2015
การเล่นการพนันในบริเวณบริษัท ถือเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับในการทำงานอย่างร้ายแรง เลิกจ้างได้โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
อ้างอิงจากคำพิพากษาศาลฎีกาที่  1839/2554 ระหว่าง นายเล็ก นาแฉล้ม ในฐานะโจทก์ และบริษัทยานากาว่า เทคโนฟอร์จ (ไทยแลนด์) จำกัด ในฐานะจำเลย   สาระสำคัญ   โจทก์กับเพื่อนพนักงานรว
29/Dec/2014
นายจ้างให้ลูกจ้างรออยู่หน้าโรงงาน โดยไม่ให้เข้าโรงงาน ยังไม่ถือว่าเป็นการเลิกจ้าง
มีคำพิพากษาศาลฎีกา ที่ ๘๕๘๙/๒๕๕๑ ที่ศาลฎีกาแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยว่า  ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๑๘ วรรคสอง ซึ่งบัญญัติให้การเลิกจ้างตามมาตรานี้ หมายความว่า การกระทำใดที่นายจ้
01/Dec/2014
นายจ้างไม่สามารถมีข้อตกลงเรื่องการห้ามตั้งครรภ์กับพนักงานได้
สืบเนื่องจากที่มีสื่อมวชนหลายสำนัก ได้เผยแพร่ข้อมูลเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 กรณีที่หัวหน้างานแผนกหนึ่งในโรงพยาบาลราชวิถี ย่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ กรุงเทพฯ ได้มีประกาศห้ามเจ้าหน้าที่ในแผนกตั้งครรภ
10/Nov/2014
ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 ถือว่าเป็นป่าตาม พ.ร.บ. ป่าไม้ พ.ศ.2484
ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 ก. ถือว่ายังคงเป็นป่าตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ.2484  การที่จำเลยตัดฟันโค่นไม้ประดู่อันเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก. ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 ก. โดยไม่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ จึงมีคว
14/Oct/2014
ทำร้ายร่างกายผู้อื่นในบริเวณบริษัท เลิกจ้างได้โดยไม่ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า
มีคำพิพากษาฎีกาที่ 13806/2555 ระหว่างนายสันติพงศ์ แจ่มทวีกุล โจทก์  กับบริษัท แฟร์ดีล เซอร์วิส จำกัด จำเลย กรณีที่โจทก์ทำร้ายร่างกายผู้อื่นในบริเวณบริษัท ทำให้บริษัทเลิกจ้างโดยไม่จำเป็นต้องจ
09/Sep/2014
จะรู้ได้อย่างไรว่างานที่ทำอยู่เข้าข่าย “สัญญาจ้างแรงงาน” หรือ “สัญญาจ้างทำของ” : มองผ่านคำพิพากษาฎีกาที่ 7699/2551
สาระสำคัญของคำพิพากษา   ข้อเท็จจริง โจทก์ฟ้องว่า จำเลยในฐานะพนักงานตรวจแรงงานได้มีคำสั่งที่  19/2548  ลงวันที่  25  กุมภาพันธ์  2548  วินิจฉัยว่า &n
18/Aug/2014
“ลูกจ้างทำงานบ้าน” ซึ่งเปิดเป็นร้านเสริมสวย และต้องทำงานในร้านเสริมสวยด้วย ถือว่าเป็นลูกจ้างทั่วไปที่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 เนื่องจากเป็นประเภทงานบ้านที่มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย เมื่อเลิกจ้างต้องได้รับค่าชดเชยตามกฎหมายทุกประการ
โดยคดีนี้ความน่าสนใจ คือ ศาลฎีกาวินิจฉัยนอกสำนวน กล่าวคือ คดีดังกล่าวนี้เป็นคดีเกี่ยวกับกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งที่ต้องนำมาใช้ในคดีแรงงานด้วย โดยกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งห้ามมิให้ศาลวินิจฉัยข้อเท็จจร
15/Jul/2014
คำพิพากษาเกี่ยวกับเรื่อง“ที่ดิน”และ"ป่าสงวนแห่งชาติ"
ประมวลกฎหมายที่ดิน  มาตรา 1  “ที่ดิน” หมายความว่า พื้นที่ดินทั่วไปและให้หมายความรวมถึงภูเขา  ห้วย  หนอง  คลอง  บึง  บาง  ลำน้ำ  ทะเลสาบ 
04/Jul/2014
การจ่ายเงินให้ลูกจ้างในวันที่นายจ้างหยุดกิจการชั่วคราว
กฎหมายคุ้มครองแรงงานของไทยจึงได้กำหนดมาตรการอันเป็นทางออกให้นายจ้างที่มีความจำเป็นต้องลดต้นทุนการผลิตด้านค่าจ้าง แต่ยังไม่ขั้นเลิกจ้างลูกจ้าง อีกทั้งยังเป็นมาตรการอันเป็นการช่วยเหลือลูกจ้างให้สามารถดำ
22/Jun/2014
เจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน แม้ว่ากองทุนเงินทดแทนจะกำหนดจ่ายสูงสุดเพียง 35,000 บาท แต่ก็สามารถเพิกถอนคำสั่งและคำวินิจฉัยของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 17884/2555 นายภาณุ  อินทพัตร์     โจทก์ สำนักงานประกันสังคม     จำเลย   1.โจทก์ฟ้องว่า  โจทก์เป็นผู้ประกันตนโดยเป็นลูกจ้างของบริษัทรี
17/Jun/2014
กรณีที่ลูกจ้างซึ่งเป็นกรรมการสหภาพแรงงานลาไปร่วมประชุมตามที่ทางราชการกำหนดตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 102
การที่ลูกจ้างซึ่งเป็นกรรมการสหภาพแรงงานลาไปร่วมประชุมตามที่ทางราชการกำหนดตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 102 หมายถึงการลาไปร่วมประชุมในเรื่องเกี่ยวกับสหภาพแรงงานที่ทางราชการกำหนดขึ้นและเป็นสหภ
19/May/2014
ข้อตกลงที่ให้นายจ้างหักค่าจ้างของลูกจ้างส่งสหภาพแรงงานเป็นค่าบำรุงสหภาพแรงงาน เป็นข้อตกลงอย่างอื่นที่ไม่ใช่สภาพการจ้าง
ความหมายของสภาพการจ้างนั้นตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 5 หมายความว่า เงื่อนไขการจ้าง หรือการทำงาน การกำหนดวันและเวลาทำงาน ค่าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง หรือประโยชน์อื่นของนายจ้างหรือ
20/Mar/2014
สัญญาจ้างที่ไม่มีกำหนดระยะเวลา เมื่อเลิกจ้างต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้าและค่าชดเชย
คำพิพากษาฎีกาที่ 7717 /2551       โจทก์ฟ้องว่า เมื่อวันที่ 13  มกราคม 2540  ถึงวันที่ 13  มกราคม  2543 โจทก์เป็นลูกจ้างบริษัทฟาสโก้ยามาบิชิ จำกัด &n
31/Jan/2014
นายจ้างกำหนดวันหยุดอื่นแทนวันหยุดตามประเพณีไม่ได้ เมื่อลูกจ้างมาทำงานในวันหยุดตามประเพณี นายจ้างต้องจ่ายค่าแรงและค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้ลูกจ้าง
คำพิพากษาฎีกา ที่ 11182 /53 บริษัทซัมซุง อิเล็คโทร-แม็คคานิคส์ ประเทศไทย จำกัด โจทก์ นางสุวรรณา ขันติวิศิษฎ์ จำเลย พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 29   โจทก์ฟ้องว่า จำเลยซึ่งเป
25/Dec/2013
กระทำอนาจารแก่เด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี โดยใช้กำลังประทุษร้าย โดยเด็กหญิงอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8825/2554 สาระสำคัญ การกระทำของจำเลยเป็นความผิดฐานกระทำอนาจารแก่เด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี โดยใช้กำลังประทุษร้ายและพยายามข่มขืนกระทำชำเราเด็กหญิงอายุยังไม่เกินสิบสามปี โดยเด
15/Dec/2013
การเรียกร้องค่าทดแทนจากหญิงอื่น ที่แสดงตนโดยเปิดเผยว่ามีความสัมพันธ์กับสามีในทำนองชู้สาว
คำพิพากษาศาลฎีกาฉบับนี้ เป็นเรื่องที่โจทก์ใช้สิทธิของโจทก์ในฐานะภริยาฟ้องเรียกค่าทดแทนจากหญิงอื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1523 วรรคสอง   ศาลฎีกาวินิจฉัยพฤติการณ์จำเลยว่าการที่จำ
02/Dec/2013
ลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องภายหลังได้ยื่นข้อเรียกร้องแล้ว จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายหรือไม่ ?
หลายๆคนมีความกังวลว่า ลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องภายหลังได้ยื่นข้อเรียกร้องแล้วจะได้รับการคุ้มครองตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์หรือไม่   ในประเด็นนี้ศาลฏีกาได้มีคำพิพากษาเป็นแนวทางไว้ดังนี้
26/Nov/2013
ถูกเลิกจ้างเนื่องจากบริษัทปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารใหม่ เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรมหรือไม่
นายบรรลือ เสียงสนั่น โจทก์   บริษัทไดมอนลีฟ (ไทยแลนด์) จำกัด จำเลย   พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 49   จำเลยเลิกจ้างโจทก์สืบเนื่องมาจ
16/Nov/2013
สั่งย้ายจากตำแหน่งพนักงานขับรถไปทำงานตำแหน่งผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายขนส่ง เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างที่ไม่เป็นธรรมหรือไม่
นายสังคม ไก่แก้ว โจทก์ บริษัท เคอรี่ ดีสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย   ป.พ.พ. มาตรา 575 พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 45, 52   โจทก์ฟ
16/Nov/2013

เกาะติดข่าวกฎหมาย

>> อ่านต่อ

บทความพิเศษ

 7 มีนาคม 2567 : ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร 7 มีนาคม 2567 : ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร

ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร   ทนายพรนารายณ์ ทุยยะค่าย 6 มีค. 67   &nb...

>> บทความอื่นๆ

กฎหมาย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2550)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.)
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2528
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543
พระราชกำหนด การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กระทรวงแรงงาน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กรมจัดหางาน
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
สำนักงานประกันสังคม
สำนักแรงงานสัมพันธ์
สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว
สำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
ศาลแรงงานกลาง
คณะกรรมาธิการการแรงงาน สภาผู้แทนราษฎร
คณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา